การสอบรับรองมาตรฐาน

สมาคมนิวโร ลิงควิสติก โปรแกรมมิ่ง ไทย

THAI NEURO LINGUISTIC PROGRAMMING ASSOCIATION

ประโยชน์ของการสอบรับรองมาตรฐาน

  • ผู้สมัครเข้าสอบวัดระดับ ได้ทดสอบความรู้ของตนเอง ในมาตรฐาน NLP ที่สูงที่สุด และสามารถพัฒนาในจุดที่ท่านคิดว่าเหมาะสมได้
  • ผู้ที่ได้รับการรับรองสามารถนำตราสัญลักษณ์สมาคมไปใช้ในการยื่นข้อเสนอต่อองค์กร หรือ ลูกค้าที่ท่านทำงานด้วยได้
  • เทรนเนอร์ NLP ที่จัดสอน NLP ในระดับต่างๆ สามารถใช้ตราสัญลักษณ์ของสมาคม เพื่อยืนยันระดับมาตรฐาน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ และประกอบการตัดสินใจของผู้เรียนได้
  • เทรนเนอร์ NLP สามารถบรรจุตราสัญลักษณ์ของสมาคมลงในประกาศนียบัตรที่ท่านรับรองผู้เรียนของท่านได้
  • กรณีที่ต้องการ สามารถขอให้สมาคมออกเอกสารรับรองว่าท่านสอบผ่าน และยื่นตรงต่อหน่วยงานที่ท่านร้องขอได้
  • ผู้ที่ได้รับการรับรอง จะมีชื่อขึ้นอยู่ในทำเนียบสมาชิกที่ได้รับการรับรองตามระดับที่ได้รับการรับรอง พร้อมข้อมูลติดต่อ ตราบเท่าที่ยังเป็นสมาชิกปัจจุบันของสมาคม
มาตรฐานการรับรองของ ABNLP

ระดับ NLP Practitioner

ระดับผู้เกี่ยวข้องกับ NLP (NLP Associate Level)

ระดับผู้เกี่ยวข้องกับ NLP มีให้สำหรับคนที่ยังไม่ได้รับการรับรองทางด้าน NLP จากสถาบันที่ได้รับการรับรอง แต่อยากจะได้รับข่าวสารเกี่ยวกับข้อมูลและการฝึกอบรมล่าสุด

ระยะเวลาในการฝึกอบรม

อย่างน้อย 120 ชั่วโมง ในการฝึกอบรมเกี่ยวกับรูปแบบ NLP พื้นฐาน สอนโดยเทรนเนอร์ที่ได้รับการรับรองหรือ มาสเตอร์ แพรคทิชั่นเนอร์ ที่ได้รับการรับรอง ภายใต้การควบคุมดูแลของเทรนเนอร์ที่ได้รับการรับรอง ในระดับนี้ไม่มีข้อบังคับเกี่ยวกับจำนวนชั่วโมงในห้องเรียน

การแสดงให้เห็นถึงความสามารถ

การแสดงให้เห็นถึงความสามารถในทักษะพื้นฐาน เทคนิค รูปแบบและแนวคิดของ NLP และความสามารถในการนำไปใช้เพื่อการเปลี่ยนแปลงของตนเอง

เกณฑ์การสอบวัดระดับมาตรฐาน

NLP Practitioner

การรับรองมาตรฐานโดยสมาคมนิวโร ลิงควิสติก โปรแกรมมิ่ง ไทย ข้อสอบเป็นแบบอัตนัย จำนวน…..ข้อ (คะแนนเต็ม……….คะแนน)    โดยท่านต้องทำข้อสอบให้ผ่านเป็นคะแนนร้อยละ…………..

หัวข้อที่ใช้ในการสอบ

  • มีพฤติกรรมที่ควบรวบข้อสันนิษฐานเบื้องต้นของ NLP ซึ่งรวมถึง
  • มุ่งเน้นผลลัพธ์ด้วยการเคารพรูปแบบของโลกของผู้อื่นและสภาวะแวดล้อมของระบบ
  • แยกได้ชัดเจนระหว่างแผนที่และอาณาเขต
  • มีเพียงผลตอบรับ – ไม่มีความล้มเหลว
  • ความหมายของการสื่อสารคือผลตอบรับที่คุณได้
  • มีความตั้งใจที่ปรับเปลี่ยนได้ ในทุกพฤติกรรม
  • ทุกคนมีทรัพยากรที่จำเป็นในการประสบความสำเร็จ
  • การต่อต้านเป็นสัญญาณของการเพซซิ่ง (ตามจังหวะ) ไม่เพียงพอ
  • กฎของความหลากหลายที่จำเป็น
  • การสร้างและคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์ที่ดี (แรพพอรท์)
  • การตามและการนำ (วัจนะภาษา และ อวัจนะภาษา)
  • การประเมิน (ประสบการณ์จากประสาทสัมผัส)
  • ระบบตัวแทน (คำขยายและลำดับในการใช้)
  • เมทตะโมเดล
  • มิลตันโมเดล
  • การดึงผลลัพธ์ที่ออกแบบมาอย่างดี เหมาะกับสภาวะแวดล้อม และโครงสร้างของสภาวะปัจจุบัน
  • ความทับซ้อนกันและการแปลความหมาย
  • การสร้างเรื่องเปรียบเปรย
  • กรอบต่าง ๆ – การเปรียบเทียบ, ความเกี่ยวข้อง, ถ้า, การย้อนความ
  • แองเคอร์ (VAK)
  • เทคนิคการแองเคอร์ประเภทต่างๆ (การใช้งานตามบริบท)
  • ความสามารถในการขยับความรับรู้ภายในและภายนอก ขึ้นอยู่กับว่าสิ่งที่ทำอยู่ต้องใช้อะไร
  • เชื่อมโยงและไม่เชื่อมโยง
  • การดึงความ
  • คุณลักษณะรอง
  • การดึงการตอบสนองทั้งจากอวัจนะภาษาและไม่ใช่
  • การเข้าถึงและสร้างทรัพยากร
  • การเปลี่ยนข้อสรุป
  • กลยุทธ์ – การจับกลยุทธ์ การถอดกลยุทธ์ การใช้กลยุทธ์ และการติดตั้งกลยุทธ์
  • แสดงถึงพฤติกรรมที่มีความยืดหยุ่น

คุณสมบัติและวิธีการสมัครสอบ

(1)

ผ่านการรับรองหลักสูตร NLP จากสถาบันที่ได้รับการรับรองจาก ABNLP อย่างน้อยระดับ Practitioner

(2)

มีสมาชิกภาพของสมาคมสมบูรณ์เป็นปัจจุบัน

สมัครสมาชิก

(3)

ชำระค่าธรรมเนียมการสอบเป็นจำนวน…….บาท

ส่งหลักฐานการชำระเงิน